การขัดเกลาทางสังคม (socialization) เป็นศัพท์ทางสังคมวิทยา
ในขณะที่วิชามานุษยวิทยาใช้คำว่า การปลูกฝังทางวัฒนธรรม (enculturation, นิยพรรณ
วรรณศิริ, 2540 : 70) มีความหมายว่า
กระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยาซึ่งมีผลทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคมต้องการ
การขัดเกลาทางสังคมทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงจากสภาพสัตว์ตามธรรมชาติ
ให้เป็นมนุษย์ที่มีวัฒนธอ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558
สังคม
สังคมไทยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่องของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม
การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด
ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นในสังคมไทย
ในแง่ของผลเสีย พบว่า กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในสังคมไอ่านเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม
ปัญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไข
แม้ว่าสังคมจะมีความร่วมมือปรับเปลี่ยนและแก้ไข
เพื่อให้ได้กลไกทางสังคมดำเนินไปอย่างราบรื่น แต่บางครั้งบางกรณีอาจเกิดปัญหาหรือข้อขัดแย้งขึ้นทั้งที่เป็นผลมาจากปัจจัยภายในและจากปัจจัยภายนอกของสังคม
ซึ่งส่งผลให้การทำงานของกลไกทางสังคมไม่เป็นปกติและกลายเป็นปัญหาสังคมขึ้นมา
พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2524
ได้ให้ความหมายของปัญหาสังคมว่า หมายถึง ภาวะใดๆ ในสังคมที่คนจำนวอ่านเพิ่มเติม
การเปลียนแปลงและการพัฒนาทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ
มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว
ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ
จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี
แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งอ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรม
การรักษาวัฒนธรรมของความเป็นชาติ
“ การสร้างอาคารสมัยใหม่นี้เป็นเกียรติของผู้สร้างเพียงคนเดียว
แต่โบราณสถานนั้นเป็น เกียรติของชาติ อิฐเพียงแผ่นเดียวก็มีค่า
ควรที่เราจะได้ช่วยกันรักษาไว้ ถ้าเราขาดสุโขทัย อยุธยา
และรัตนโกสินทร์แล้วประเทศไทยก็ไม่มีความหมาย ”
พระดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๔
จากพระราชดำรัสฯดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า
การรักษามรดกทางวัฒนธรรมคือ การรักษาชาติ ถ้าเรา สูญวัฒนธรรมก็เท่ากับเราสูญชาตินั่นเอง
และเมื่อพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ย้ำว่า “ วัฒนธรรมไทย ” คือ เอกลักอ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง
แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม
ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ 2 นัย ดังนี้
1.สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่นวัฒนธรรมไทย,วัฒนธรรมในการแต่งกาย
เป็นต้น
2.วิถีชีวิตของหมู่คณะ
เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน,วัฒนธรรมชาวเขา เป็นต้น
วัฒนธรรม
เป็นแบบแผนที่ครอบคลุมวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์
วัฒนธรรมพื้นฐานและความจำเป็นของมนุษย์ ได้แก่ ภาษา ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
ปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ขอบข่ายของวัฒนธรรมแสดงถึงขีดความสามารถของมนุษย์ในการศึกษาเรียนรู้
เพื่อสร้อ่านเพิ่มเติม
พลเมืองดี
ความสำคัญของพลเมืองดี
พลเมืองดีมีความสำคัญต่อประเทศชาติอย่างมาก โดยอาจแยกกล่าวถึงความสำคัญของพลเมืองดีได้ 3
ประการ
1.) ด้านสังคม
การเป็นพลเมืองดีจะทำให้การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสันติสุข
เพราะคนในสังคมจะช่วยกันรักษาความสงบเรียบร้อย และร่วมกันพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้า หลีกเลี่ยงความขัดแย้งในสังคม
พลเมืองที่ดีจะปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างแก่พลเมืองที่ประพฤติ ไม่ดี
ในด้านการเสียสละต่างๆ เพื่อปรอ่านเพิ่มเติม
พลเมืองดี
คุณลักษณะพลเมืองดี
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้
1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหมาย
2.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น
3.ต้องเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่มีต่อครอบครัว ดรงเรียน ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
4.ต้องเป็นบุคคลที่มีเหตุผล ใจกว้าง และรับฟังความคิดเห็นของคนบุคคลอื่นเสมอ
5.ต้องเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน
6.ต้องเป็นบุคคลที่มีความกอ่านเพิ่มเติม
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้
1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหมาย
2.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น
3.ต้องเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่มีต่อครอบครัว ดรงเรียน ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
4.ต้องเป็นบุคคลที่มีเหตุผล ใจกว้าง และรับฟังความคิดเห็นของคนบุคคลอื่นเสมอ
5.ต้องเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน
6.ต้องเป็นบุคคลที่มีความกอ่านเพิ่มเติม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ความหมายและความเป็นมาของ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”
(ตีพิมพ์ครั้งแรกใน กรุงเทพธุรกิจ วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๙)
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
นี่เป็นข้อความที่เราทุกคนคุ้นเคยกันดี
และได้เห็นหรือได้ยินอยู่ทุกวัน ในแง่หนึ่ง
ไม่อาจถือว่ามีความหมายที่แปลกพิเศษอะไร: ประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เรามีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
แต่ถ้ามองในอีกแง่หนึ่ง
ข้อความดังกล่าวมีความน่าสนใจที่ชวนให้คิดและศึกษาต่อ ประเทศตะวันตกหลายประเทศ
เช่น อังกฤษ สวีเดน เบลเยี่ยม ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและมีพระมหากษัตริย์ (หรือพระราชินี) เป็นประมุขของรัฐ
แต่เราไม่เรียกหรือได้ยินใครเรียกประเทศเหล่านั้นว่าปกครองด้วย “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”
แม้แต่รัอ่านเพิ่มเติม
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็มประมุข
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง
ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์
สำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น
พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่การใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติ
บริหาร ตุลาการ ทรงมิได้ใช้พระราชอำนาจเหล่านั้นด้วยพระองค์เอง แต่มีองค์การหอ่านเพิ่มเติม
กฎหมาย
รัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมชุมชน
เขียนโดย SUPER USER ON 09 สิงหาคม 2556. POSTED IN UNCATEGORISED
1) หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
กฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว
1. การหมั้น
การหมั้นจะสมบูรณ์ต่อเมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับผู้หญิง
การหมั้นจะทำได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 บริบูรณ์แล้ว
ผู้เยาว์จะทำกอ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชน
สิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความเท่าเทียมกันในแง่ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิ
เพื่อดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว
เพศ อายุ ภาษาศาสนา และสถานภาพทางกายและสุขภาพรวมทั้งความเชื่อทางการเมือง
หรือความเชื่ออื่นๆที่ขึ้นกับพื้นฐานทางสังคม
สิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งที่ไม่สามารถถ่ายทอดหรือโอนให้แก่ผู้อื่อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน (Human Right)
หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน
มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้
โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ศูนย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีบทบาทในฐานะผู้ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานกำกับดูแลตลาดทุนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในต่างประเทศ
และมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานในต่างประเทศ
ศูนย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเข้าร่วมในฐานะผู้แทนขององค์กรในกรอบความร่วมมือและการประชุมในเวทีต่างประเทศ
อาทิเช่น ASEAN Capital Markets Forum (ACMF) และ International
Organization of Securities Commissions (IOSCO) และทำงานร่วมกับหน่วยงานและสถาบันระหว่อ่านเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง
การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ
ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง
ๆ ในโลก
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล
หรือสังคม ซึ่งเกิดขึ้นข้ามขอบเขตของกลุ่มสังคมการเมืองหนึ่ง ๆ
ในกรณีความสัมพันธ์ระหว่างคนไทยด้วยกัน หรือกลุ่มคนไทยด้วยกันในประเทอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)