วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558

สังคม

         การขัดเกลาทางสังคม (socialization) เป็นศัพท์ทางสังคมวิทยา ในขณะที่วิชามานุษยวิทยาใช้คำว่า การปลูกฝังทางวัฒนธรรม (enculturation, นิยพรรณ วรรณศิริ, 2540 : 70) มีความหมายว่า กระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยาซึ่งมีผลทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคมต้องการ การขัดเกลาทางสังคมทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงจากสภาพสัตว์ตามธรรมชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีวัฒนธอ่านเพิ่มเติม

สังคม

          สังคมไทยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่องของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นในสังคมไทย ในแง่ของผลเสีย พบว่า กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในสังคมไอ่านเพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

ปัญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไข
                แม้ว่าสังคมจะมีความร่วมมือปรับเปลี่ยนและแก้ไข เพื่อให้ได้กลไกทางสังคมดำเนินไปอย่างราบรื่น แต่บางครั้งบางกรณีอาจเกิดปัญหาหรือข้อขัดแย้งขึ้นทั้งที่เป็นผลมาจากปัจจัยภายในและจากปัจจัยภายนอกของสังคม ซึ่งส่งผลให้การทำงานของกลไกทางสังคมไม่เป็นปกติและกลายเป็นปัญหาสังคมขึ้นมา

                พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2524 ได้ให้ความหมายของปัญหาสังคมว่า หมายถึง ภาวะใดๆ ในสังคมที่คนจำนวอ่านเพิ่มเติม

การเปลียนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งอ่านเพิ่มเติม

วัฒนธรรม

การรักษาวัฒนธรรมของความเป็นชาติ
การสร้างอาคารสมัยใหม่นี้เป็นเกียรติของผู้สร้างเพียงคนเดียว แต่โบราณสถานนั้นเป็น เกียรติของชาติ อิฐเพียงแผ่นเดียวก็มีค่า ควรที่เราจะได้ช่วยกันรักษาไว้ ถ้าเราขาดสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์แล้วประเทศไทยก็ไม่มีความหมาย
พระดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๔

จากพระราชดำรัสฯดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า การรักษามรดกทางวัฒนธรรมคือ การรักษาชาติ ถ้าเรา สูญวัฒนธรรมก็เท่ากับเราสูญชาตินั่นเอง และเมื่อพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ย้ำว่า วัฒนธรรมไทย คือ เอกลักอ่านเพิ่มเติม

วัฒนธรรม

ความหมายของวัฒนธรรม
       วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป
       พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ 2 นัย ดังนี้
       1.สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่นวัฒนธรรมไทย,วัฒนธรรมในการแต่งกาย เป็นต้น
       2.วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน,วัฒนธรรมชาวเขา เป็นต้น

       วัฒนธรรม เป็นแบบแผนที่ครอบคลุมวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ วัฒนธรรมพื้นฐานและความจำเป็นของมนุษย์ ได้แก่ ภาษา ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ขอบข่ายของวัฒนธรรมแสดงถึงขีดความสามารถของมนุษย์ในการศึกษาเรียนรู้ เพื่อสร้อ่านเพิ่มเติม

พลเมืองดี

ความสำคัญของพลเมืองดี
พลเมืองดีมีความสำคัญต่อประเทศชาติอย่างมาก  โดยอาจแยกกล่าวถึงความสำคัญของพลเมืองดีได้ 3 ประการ

1.) ด้านสังคม  การเป็นพลเมืองดีจะทำให้การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสันติสุข  เพราะคนในสังคมจะช่วยกันรักษาความสงบเรียบร้อย  และร่วมกันพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้า  หลีกเลี่ยงความขัดแย้งในสังคม  พลเมืองที่ดีจะปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างแก่พลเมืองที่ประพฤติไม่ดี ในด้านการเสียสละต่างๆ เพื่อปรอ่านเพิ่มเติม